top of page

Quantum - Thought : ควอนตัมกับความคิด

Kālāma Sutta กาลามสูตร พิสูจน์ก่อนเชื่อ !

nor upon another's seeming ability (bhabba-rūpatāya),
nor upon the consideration, The monk is our teacher (samaṇo no garū)

มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ
มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
 
"เรื่องราวนอกตำราพื้นฐานแต่มีคู่กับสังคมนานมา ควรค่าแก่การศึกษา" ...
ที่มิใช่เพียงทั้งความคิดหรือทฤษฎี อีกทั้งจากการทดลองฟิสิกส์พื้นฐานโดยลำพัง 
 "เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่" (cogito ergo sum) "I think, therefore I am"

เรอเน เดการ์ต (René Descartes)

 
(Since:  December 2016 - June 9, 2020: - Stat: 200  Updated:  September 9, 2023)

“ควอนตัม” - จำนวนน้อยที่สุดหรือหน่วยของบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือหน่วยของพลังงาน

“Quantum -- the smallest amount or unit of something, especially energy

สถานะเชิงควอนตัมคือ “ทรัพยากรข่าวสาร”

2022-Thumnails.003.jpeg

| ควอนตัมกับศาสนา | ควอนตัมกับการทดลอง | ควอนตัมกับสิ่งมีชีวิต | ควอนตัมกับโฆษณาเกินจริง | ควอนตัมกับวิชาการหลุดโลก | ควอนตัมกับการเมือง | ควอนตัมกับภาพลักษณ์ | ควอนตัมสารพันที่อ้างกัน (มิใช่วิทยาศาสตร์)ฯลฯ |

"นักวิทยาศาสตร์โนเบลฟิสิกส์ คุณเชื่อในพระเจ้าไหม ?"

Q. Do you use God as a metaphor or do you believe in God?

A (Zeilinger): Yes. Why not believe? The famous Isaac Newton published books on many subjects, but he wrote much more about religion than physics. He was a religious person.

I believe that God puts the numbers so that we believe that he plays dice, but he does not play dice. God says: now it is three, now it is two, now it is six. And we believe that God plays dice.

......

(ไอน์สไตน์) “สิ่งนี้ไม่ใช่การปฏิเสธความเชื่อทางศาสนา แต่เป็นการใช้วิทยาศาสตร์เข้ามาแทนที่แนวคิดเรื่องพระเจ้า

"พระพุทธศาสนากับทฤษฎีควอนตัม : ความเหมือนที่แตกต่าง''

"คำว่า “ควอนตัม (Quantum)” เป็นภาษาลาตินแปลว่า “ขนาดไหน” หรือ “จำนวนเท่าไร” เป็นคำที่ใช้พูดถึงจำนวนหรือขนาดพลังงานของอะตอม ... อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)เจ้าของทฤษฎีสัมพัทธ์ที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดทฤษฎีควอนตัมขึ้น มาก็ได้พยายามปฏิเสธทฤษฎีควอนตัมในบั้นปลายชีวิต ... กล่าวว่าถ้าทฤษฎีควอนตัมเป็นจริง โลกใบนี้ก็จะไม่มีกฎระเบียบอะไรเลย ซึ่งเขาใช้คำว่าเพี้ยน (Crazy) ดูเหมือนว่าตอนนี้โลกเพี้ยนจริงๆ คือบางครั้งดูจะไร้กฎ ไร้ระเบียบ ไม่มีความแน่นอนอะไรเลย ดังที่เรามักจะพูดว่าไม่มีอะไรแน่นอนนอกจากความไม่แน่นอน... ทฤษฎีควอนตันจึงโยงไปถึงคำสอนเรื่อง ‘อนิจจัง ความไม่ที่ยง’ ในพระพุทธศาสนา ... เปิดเผยสภาวะที่เรียกว่าความไม่แน่นอน (Uncertainty) เนื่องจากว่า แนวคิดสำคัญประการหนึ่งของฟิสิกส์ควอนตัมก็คือหลักการที่ว่าด้วยความไม่ แน่นอน (Uncertainty Principle)"

(พระศึกษา "ฟิสิกส์" ได้ลึกซึ้งถึงเพียงนี้ อธิบายได้อย่างน่าทึ่ง !)

"รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส"  -
ไอทีควอนตัม

นีลส์ บอร์ นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลกล่าวไว้เช่นกันว่า “ผู้ใดมิได้ตื่นเต้นกับเจ้าทฤษฎีควอนตัมนั่นแล้ว แสดงว่าก็หาไม่ที่เข้าใจมัน (anybody who is not shocked by quantum theory has not understood it)” และอย่างยิ่ง “ในครั้งแรกพบประสบเจอ (first come across)” กับควอนตัมนั้น ๆ และจากการที่สถานะควอนตัมของการทดลองหรือการสร้างจากระบบ ต่าง ๆ ตอบสนองมนุษย์ได้ราวกับว่ามันมีชีวิต (ผ่านตัวตรวจจับสัญญาณแบบต่าง ๆ) ทำให้มีหนังสือเล่มหนึ่งอันเกิดจากการสัมภาษณ์นักวิทยาศาสตร์ดัง ๆ ยุคนี้ได้ตั้งชื่อเอาไว้ว่า “วิญญาณในอะตอม (The Ghost in the Atom)” ซึ่งมีผู้แปลและพิมพ์เป็นภาษาไทยแล้ว เป็นการสาธยายถึงความรู้ ประสบการณ์ความพิลึกของควอนตัมกับการตอบสนองเหล่านั้น !

(ผีในอะตอม มีจริงหรือ ?) (click ที่ภาพ)

จักรวาลหนึ่งในอะตอม

 

องค์ดาไลลามะเองก็ทรงนิพนธ์ “จักรวาลในหนึ่งอะตอม (The universe in a single atom)” ด้วย ในขณะที่ศาสตราจารย์ไซลิงเงอร์ (Anton Zeilinger นักวิทย์โนเบลฟิสิกส์ 2022) ตีพิมพ์ผลงานสิ่งที่เล็กกว่าระดับอะตอมมากมาย รวมทั้งรูปถ่ายวงแหวนความพัวพันหรือควอนตัมนั้นให้ชาวโลกได้เห็นกันมาแล้ว

 

ทั้งสองคนสองเรื่องมาเจอกัน เสมือนเป็นภาพอีกมิติหนึ่งของความพัวพันจาก สองปูชนียบุคคลผู้ค้นหาธรรมชาติ ฉันใด

(click ที่ภาพของสองผู้ยิ่งใหญ่ทางธรรมและการทดลองฟิสิกส์พื้นฐาน สี่เรื่องราวน่าสนใจรออยู่ในนั้น !)

และเรื่อง quantum physics กับเรื่อง neuroscience & health อันมีจุดร่วมกับด้าน spirituality

"ความ" จะเป็นจริง เมื่อสิ่งนั้นถูกตรวจวัด !

 

"ความคิดที่ล่องลอยหรือจินตนาการจะเป็นจริงเมื่อสิ่งนั้นตรวจวัดออกมาเป็นผลได้  มิฉะนั้น ? "

 

ควอนตัมจัดให้ กลศาสตร์ควอนตัมอธิบายสิ่งที่ประสาทสัมผัสปกติทั้งห้าของมนุษย์เข้าถึงตรง ๆ ไม่ได้ มีการทดลองมากมายทำได้ พิสูจน์ได้มากขึ้น เช่น (www.nature.com/articles/nphys3343)

หรือศึกษาการวิพากษ์ได้จากบทความนี้ที่อ่านง่าย สบายตา ทว่า ใช้เวลาหน่อยเพื่อย่อยความ

Reality doesn’t exist until we measure it, quantum experiment confirms 

การทดลองสถานะควอนตัมในอวกาศยืนยันในสิ่งที่เลือก "ความเป็นจริง" นั้น (คลื่นหรืออนุภาค)

Quantum experiment in space confirms that reality is what you make it

The strange link between the human mind and quantum physics:

Nobody understands what consciousness is or how it works. Nobody understands quantum mechanics either. Could that be more than…

(BBC)

"I cannot define the real problem, therefore I suspect there's no real problem, but I'm not sure there's no real problem.The American physicist Richard Feynman said และ Albert Einstein once complained, "the Moon does not exist only when we look at it !"

(แนวทางเดียวกับข้อความยอดนิยม "เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่")

อธิบายโดยรวมว่าปรากฏการณ์เชิงควอนตัมทั้ง การทับซ้อนทางตำแหน่ง (superposition) และความพัวพัน (entanglement) ที่ประสาทสัมผัสของมนุษย์ไม่สามารถ "เข้าถึง" ตรง ๆ ได้ มีจุดร่วมกับเรื่อง "สติ"

“เข้าใจ”ควอนตัมกันอย่างไร ?

(เก้าบทความสั้น เพื่อความเข้าใจด้วยตนเอง) - เปิดประตูการเรียนรู้ให้เหมาะตรง ความงุนงงต่อเรื่องราวร้อยปีของกลศาสตร์ควอนตัมที่นำโลกมาถึงยุคไอทีใหม่อันมีทั้งคอมพิวเตอร์ รหัสลับ การส่งถ่ายหรือเทเลพอร์ทเชิงควอนตัม ฯ จะไม่ยากเกินไปนัก พลันรู้จักและเข้าใจเรื่องราวของควอนตัมเหล่านั้นสะดวกขึ้น เมื่อได้เริ่ม “คุ้นเคย”

 

| EP1/9 | EP2/9 | EP3/9 | EP4/9 | EP5/9 | EP6/9 | EP7/9 | EP8/9 | EP9/9 |

“ฟิสิกส์ของชีวิต: รุ่งอรุณของชีววิทยาเชิงควอนตัม (Physics of life: The dawn of quantum biology)”

หากเริ่มด้วยผลลัพธ์อนาคตก่อนว่าด้วยเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์ยุคหน้ามาจากการเลียนแบบการสังเคราะห์แสงของพืชที่พัฒนาได้ด้วยกลศาสตร์ควอนตัมรวมทั้งเรื่องของสาหร่าย การอธิบายว่าเหตุใดนกอพยพถึงไม่หลงทางจากเข็มทิศธรรมชาติในดวงตาด้วยการพัวพันเชิงควอนตัมกับประโยชน์จากสนามแม่เหล็กโลก และข่าวที่ยังต้องได้รับการพิสูจน์อีกมากกรณีดีเอ็นเอ (DNA) มีการส่งถ่ายหรือเทเลพอร์ตโครงสร้างจัดเรียงโมเลกุลใหม่ภายใต้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ ก็จะเริ่มรับทราบได้ว่าวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตได้แผ่มาชิดกับฟิสิกส์สาขาควอนตัมจริงจังเข้าแล้ว

 

ชีววิทยาเชิงควอนตัม (Quantum Biology) หมายถึงควอนตัมของ “ส่ิงมีชีวิต” แน่แท้หรือ ?

| EP1 | EP2 | EP3 | EP4 | EP5 |

ควอนตัมกับศาสนา-Aug2023.jpg
Q-Thai-Subscription-2021.jpg

(แนะนำเรื่องราวนอกตำราพื้นฐาน เพื่อศึกษาร่วมกันที่ IEEE.Comsoc.Th@gmail.com)

Join Two Pages-2.jpg
bottom of page