top of page
%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%

Thai Quantum Computer:

คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม คอมพิวเตอร์ควอนตัม ฯ

Since : March 20, 2017  - Updated:  Jan 16, 2021

จดหมายเหตุเริ่มต้นแล้ว  :  Thai Quantum Computer - Milestones
(2014) Kicked off: TENCON 2014 - Quantum Tutorial Session & Forum
(2016) รวมกลุ่มนักศึกษาไอทีควอนตัมไทยในต่างแดน (ฟิสิกส์ - พ.ค. ๕๙)
(2016) พูดไอทีควอนตัมกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ECTI-Con2016 - ต.ค. ๕๙)
(2016) สะกิดทางสร้างโครงงานขอใช้ IBM 5 คิวบิต  
(2017) รวมความรู้ทั่วไทยทั่วโลก  "คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม (ความรู้รอบตัว พ.ศ.๒๕๖๐)"
(2017) จับประเด็นเริ่มโครงการ "ทีมไอทีควอนตัมไทย"  ณ งาน "แสงฉายที่ชายโขง (ECTI-CARD 2017)"(๒๗ ก.ค. ๖๐) 
(2018) โยงสู่ 1st Q-Thai SEM2018 (Software): สัมนาระดับการประยุกต์ใช้งาน (applications layer) ๒๕๖๑
(2019)  IBM Business report การคำนวณเชิงควอนตัม ธุรกิจใหม่มาแรง
(2019)  IBM Quantum Computing & Its Opportunity for Thailand
(2020) n/a

ประสานงาน :  K Sripimanwat           

ผลของงานด้าน "คอมพิวเตอร์ควอนตัม" เพื่อเป็นวิทยาทาน สาธารณะประโยชน์ และเพื่อสู่การเตรียมพร้อมของสังคมฐานความรู้ไทย 

(บันทึกเสียง) เสวนาโต๊ะกาแฟเรื่องคอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม เมื่อวันพฤหัสฯ ที่ ๒๗ ก.ค. ๒๕๖๐ ณ มุมกาแฟ ริมแม่น้ำโขง เชียงคาน

จังหวัดเลย ตอบคำถามโดย ศ.ดร.ประภาส จงสถิตย์วัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ... แบบสนุกสนาน ในมุมสงบ และบนเก้าอี้สุดชิคสบาย ๆ กับเรื่องพื้นฐานคอมพิวเตอร์พันธุ์ใหม่ กับสิ่งที่โปรแกรมเมอร์หรือวิศวกรคอมพิวเตอร์ควรเริ่มทำความเข้าใจ

(บันทึกเสียง) บรรยายโต๊ะกาแฟเรื่องที่สองเมื่อวันพฤหัสฯ ที่ ๒๗ ก.ค. ๒๕๖๐ ณ มุมกาแฟ ริมแม่น้ำโขง เชียงคาน จังหวัดเลย โดย ผศ.ดร.พิชญา ตัณฑัยย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ... แบบสบาย ๆ เรื่องพื้นฐานคอมพิวเตอร์พันธุ์ใหม่ กับสิ่งที่โปรแกรมเมอร์หรือวิศวกรคอมพิวเตอร์ควรเริ่มทำความเข้าใจ

(IEEE ComSoc TH & ECTI - Telecom/ QuantumIT)

ขอขอบคุณผู้อุปถัมภ์การจัดทำและจัดพิมพ์ผลงานแรกด้าน "คอมพิวเตอร์ควอนตัม" (รอบที่ ๑)

เพื่อเป็นวิทยาทาน สาธารณะประโยชน์ และเพื่อสู่การเตรียมพร้อมของสังคมฐานความรู้ไทย 

รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ไอทีควอนตัม (๓)

“คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม” (ความรู้รอบตัว พ.ศ. ๒๕๖๐)

นักศึกษาควอนตัมไทยไขความรู้ ... ซีพียูพันธุ์ใหม่

(จิรวัฒน์ ตั้งปณิธานนท์) คอมพิวเตอร์ควอนตัมจากตัวเหนี่ยวนำยวดยิ่ง

(CQT, National University of Singapore สิงคโปร์) 

(พลณพ สมุทรประภูติ) การคำนวณเชิงควอนตัมแบบกับดักไอออน 

(Harvard University สหรัฐอเมริกา)

(ปรีติ โอวาทชัยพงศ์) คอมพิวเตอร์ควอนตัมในเพชร

(University of California, Santa Barbara สหรัฐอเมริกา)

(รัฐกร แก้วอ่วม) นาฬิกาอะตอมเชิงแสงโดยวิธีกักไอออน

(CQT, National University of Singapore สิงคโปร์) 

(ธัญนันท์ ภูผาจง) สถานะของสสาร...สู่การพัฒนาเทคโนโลยีควอนตัม

(Ecole Normale Supérieure ฝรั่งเศส) 

(นินนาท แดงเนียม) อัลกอริธึมนั้นสำคัญไฉน

(University of New Mexico สหรัฐอเมริกา)

NMR, Quantum Dot, and Photon

(Q-Thai Forum)

สำรวจความเห็นโลก (ต่อเมืองไทย)

Pedram Roushan, Google, สหรัฐอเมริกา

Artur Ekert, CQT-NUS, สิงคโปร์

Carlton M.Caves, CQuIC, สหรัฐอเมริกา 

John DuBois, ออสเตรเลีย

Wei Chen, จีน

พื้นฐานและข่าวสารก่อนทศวรรษ ๒๕๖๐

1. ถามตอบ: คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัมทำงานอย่างไร ?  

2. บริษัทแรกขายควอนตัมคอมฯ จำกัด (D-Wave) 

3. กูเกิล เริ่มใช้คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม​ทำอะไร ?

4. งบวิจัยเทคโนโลยีควอนตัมระดับหมื่นล้าน

      (อังกฤษ) ตามด้วยข่าวจาก EU สหรัฐฯ ญี่ป่น จีน สิงคโปร์ รัสเซีย)

5. เปิดช่องธุรกิจ ปิดความเสี่ยง

ศึกษาอดีตเพื่อเตรียมพร้อมอนาคต

(ต้นทุนก้อนใหญ่สำหรับเมืองไทย)

1. การคำนวณไทยยุคแรก  

2. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ไทย แล้วอย่างไรต่อ ? 

3. ควอนตัมไทย พร้อม (ซื้อ) ประมูล ?

4. ควอนตัมหลอกลวง (สังคมวิชาการและแบบบ้าน ๆ)   

5. FAQ : FUNNY ASKED QUESTIONs & ANSWERs 

bottom of page