top of page

Q - Attempt  : "ความพยายามอยู่ทีไหน ความพยายามยังคงอยู่ที่นั่น"

รวมแกนเวลาข้อเสนอโครงการของทศวรรษที่ผ่านมาของ Q-Thai Forum (ECTI & IEEE ComSoc Thailand) กับกิจกรรมสาธารณะเพื่อร่วมพัฒนาอนาคตพร้อมด้วยผลของการยังไปไม่ถึงจุดหมาย ที่แม้ยังไม่มีเหตุให้ได้ศึกษาและนำปรับปรุงพัฒนาทางใดต่อได้ นอกจากทราบเพียงเป็น "อุบัติเหตุ"  บ่อยครั้งนั้น ...  บันทึกนี้ก็ยังพึงมีประโยชน์เสมือนเป็นประวัติศาสตร์อันควรได้ทำให้การวางแผนสู่อนาคตแนวทางอื่น ๆ ของ "ไอทีควอนตัมไทย" เข้มแข็งขึ้นต่อไปได้

หมายเหตุ :  

๑.โครงการสาธารณะที่ผ่านมา ได้รับแรงและกำลังผลักดันอันจำกัดจากส่วนตัวของผู้เข้าร่วมสร้างสรรค์โครงการเป็นหลัก)

๒. ประสงค์ทราบรายละเอียดของผลย่อที่สรุปดังตารางด้านล่างนี้ (ติดต่อ

(Since July 22, 2017: updated:  December 26, 2017)                         

(ค.ศ.2008) พ.ศ. 2551 : "ศูนย์กลางวิจัยและพัฒนา ฝึกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบวิทยา การรหัสลับเชิงควอนตัม: ระยะที่ 1” (Thai Quantum Cryptography Testbed Center: Phase I)

นำเสนอโครงการต่อ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ระยะเวลากว่าสองปีจนผ่านการพิจารณาทุกระดับรวมคณะกรรมการบริหาร (บอร์ด) นำเสนอขั้นตอนสุดท้ายโดย ศ.เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์ กทช. ที่ปรึกษาโครงการ แต่ผลจากรัฐประหารปี ๒๕๔๙ กทช. เปลี่ยนเป็น กสทช. ...

(โครงการสูญหาย ไม่เป็นที่ปรากฏผลใด ๆ ต่อมา)

(2012) : ข้อเสนอโครงการวิจัยและพัฒนาซอร์ฟแวร์การจัดการกุญแจรหัสลับ

หน่วยงานวิจัยและพัฒนา

(ไม่ผ่าน)

(2015) : ข้อเสนอโครงการกองทุนวิจัย

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม (โครงการ ๒)

(ผ่านการพิจารณารอบแรกแต่ไม่อนุมัติเนื่องจาก "ยังไม่มีระเบียบรองรับ !")

(2015) : โครงการบริหารจัดการโทรคมนาคม

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2016) : โครงการบริหารจัดการโทรคมนาคม

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2016) : "โครงการบริหารจัดการความรู้โทรคมนาคมไทย : พัฒนาบุคลากรและการถ่ายทอดความรู้"

กองทุนหน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๒

(ยื่นโครงการ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ยังคงไม่มีสัญญาณใด ๆ ณ กรกฎาคม ๒๕๖๐)

(2016) : โครงการบริหารจัดการโทรคมนาคม

หน่วยงานด้านบริหารจัดการไอซีทีภาครัฐ ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2016) : โครงการบริหารจัดการโทรคมนาคม

หน่วยงานด้านนโยบายวิทย์และเทคโนฯ

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2016) : โครงการบริหารจัดการโทรคมนาคม

(หน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ และภาคเอกชนทั่วไปกว่าหนึ่งร้อยแห่ง)

(ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการความรู้โทรคมนาคม

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีนโยบาย)

(2017) : โครงการกิจกรรมเสริม dinner talk "ทศวรรษหน้าวิศวกรรมไฟฟ้าและฟิสิกส์ไทย"

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๒

(กลางปีงบประมาณ มิได้จัดสรรงบงบประมาณไว้)

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านกำกับดูแลโทรคมนาคม ๓

(ปลายปีงบประมาณ มีงบประมาณจำกัดไม่สามารถสนับสนุน)

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานกำกับนโยบายไอซีที ๑

(ต้นปีงบประมาณ ได้รับคำตอบ "ไม่มีกลไกสนับสนุน")

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านนโยบายวิทย์และเทคโนฯ ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการกิจกรรมเสริม dinner talk "ทศวรรษหน้าวิศวกรรมไฟฟ้าและฟิสิกส์ไทย"

หน่วยงานกำกับนโยบายไอซีที ๒

(กลางปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการกิจกรรมเสริม dinner talk "ทศวรรษหน้าวิศวกรรมไฟฟ้าและฟิสิกส์ไทย"

หน่วยงานด้านนโยบายวิทย์และเทคโนฯ ๒

(กลางปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านการศึกษาวิทย์เพื่อเยาวชน

(ต้นปีงบประมาณ "อยู่ในการดูแลของส่วนงานอื่น (ส่งต่อ) ยังคงไม่มีคำตอบเพิ่มเติม")

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านบริหารจัดการไอซีที ๑

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านบริหารจัดการไอซีที ๒

(กลางปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

หน่วยงานด้านบริหารส่งเสริมและจัดการไอซีทีภาครัฐ

(ต้นปีงบประมาณ ไม่มีคำตอบ)

(2017) “ภูมิคุ้มกันสื่อฉ้อฉลและกลลวง : กรณีเทคโนโลยีไอทีควอนตัมอนาคต”

กองทุนสื่อสร้างสรรค์

(2017) : โครงการศูนย์กลางการติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม

(หน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ และภาคเอกชน "รายใหญ่" หลายแห่ง)

(ยังคงไม่มีคำตอบ)

Please reload

สิริรวมถึงปลายปีพ.ศ.๒๕๖๐ ร่วมกับความพยายามอีกชุดสุดท้ายใหญ่ ๆ ปลายปี

“การสร้างภูมิคุ้มกันสื่อฉ้อฉลและกลลวง : กรณีเทคโนโลยีไอทีควอนตัมอนาคต”

จินดาโทรคมนาคม – ThaiTelecomParagon

"โครงการบริหารจัดการความรู้โทรคมนาคมไทย พ.ศ. ๒๕๖๑"

“ศูนย์กลางติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงควอนตัม พ.ศ. ๒๕๖๑”

“การบรยายฝึกอบรม Training for ...."

“วันสากลแห่งแสง (และเทคโนโลยีแสง) พ.ศ. ๒๕๖๑”

รวมมากกว่า ๑,๐๐๐ จดหมายเชิญรวมข้อเสนอโครงการสู่ภาครัฐ เอกชน และบุคคลสำคัญในรอบทศวรรษหรือกว่าสิบปีที่ผ่านมา

"มิใช่ความล้มเหลว แต่เป็นประสบการณ์ที่ยังไม่ประสบผล"

 

......................................................

ดังนั้น ตั้งแต่ปี 2018 เป็นต้นมา จึงขอเชิญมาร่วมกัน

เนื่องจากแนวทางที่ผ่านมาคงยังห่างไกล มาเริ่มแนวทางใหม่ ๆ สู่อนาคตไอทีควอนตัมไทยร่วมกัน

(โครงการ "ผู้อุปถัมภ์" การพัฒนาบุคลากรไอทีควอนตัมไทย หรือการจัดการ Q-Thai.Org

หรือโครงการร่วมกิจกรรม (partner) กับสามงานใหญ่ ... เชิญพบรายละเอียดด้านใน

ติดต่ออุปถัมภ์ได้ที่นี่ (ECTI & IEEE ComSoc TH)

bottom of page