top of page
%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%

Thai Quantum Computer:
คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม คอมพิวเตอร์ควอนตัม ฯ
Since : March 20, 2017  - Updated:  Jan 16, 2021

จดหมายเหตุเริ่มต้นแล้ว  :  Thai Quantum Computer - Milestones
(2014) Kicked off: TENCON 2014 - Quantum Tutorial Session & Forum
(2016) รวมกลุ่มนักศึกษาไอทีควอนตัมไทยในต่างแดน (ฟิสิกส์ - พ.ค. ๕๙)
(2016) พูดไอทีควอนตัมกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ECTI-Con2016 - ต.ค. ๕๙)
(2016) สะกิดทางสร้างโครงงานขอใช้ IBM 5 คิวบิต  
(2017) รวมความรู้ทั่วไทยทั่วโลก  "คอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม (ความรู้รอบตัว พ.ศ.๒๕๖๐)"
(2017) จับประเด็นเริ่มโครงการ "ทีมไอทีควอนตัมไทย"  ณ งาน "แสงฉายที่ชายโขง (ECTI-CARD 2017)"(๒๗ ก.ค. ๖๐) 
(2018) โยงสู่ 1st Q-Thai SEM2018 (Software): สัมนาระดับการประยุกต์ใช้งาน (applications layer) ๒๕๖๑
(2019)  IBM Business report การคำนวณเชิงควอนตัม ธุรกิจใหม่มาแรง
(2019)  IBM Quantum Computing & Its Opportunity for Thailand
(2020) n/a

ประสานงาน :  K Sripimanwat           

ผลของงานด้าน "คอมพิวเตอร์ควอนตัม" เพื่อเป็นวิทยาทาน สาธารณะประโยชน์ และเพื่อสู่การเตรียมพร้อมของสังคมฐานความรู้ไทย 

(บันทึกเสียง) เสวนาโต๊ะกาแฟเรื่องคอมพิวเตอร์เชิงควอนตัม เมื่อวันพฤหัสฯ ที่ ๒๗ ก.ค. ๒๕๖๐ ณ มุมกาแฟ ริมแม่น้ำโขง เชียงคาน

จังหวัดเลย ตอบคำถามโดย ศ.ดร.ประภาส จงสถิตย์วัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ... แบบสนุกสนาน ในมุมสงบ และบนเก้าอี้สุดชิคสบาย ๆ กับเรื่องพื้นฐานคอมพิวเตอร์พันธุ์ใหม่ กับสิ่งที่โปรแกรมเมอร์หรือวิศวกรคอมพิวเตอร์ควรเริ่มทำความเข้าใจ

(บันทึกเสียง) บรรยายโต๊ะกาแฟเรื่องที่สองเมื่อวันพฤหัสฯ ที่ ๒๗ ก.ค. ๒๕๖๐ ณ มุมกาแฟ ริมแม่น้ำโขง เชียงคาน จังหวัดเลย โดย ผศ.ดร.พิชญา ตัณฑัยย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ... แบบสบาย ๆ เรื่องพื้นฐานคอมพิวเตอร์พันธุ์ใหม่ กับสิ่งที่โปรแกรมเมอร์หรือวิศวกรคอมพิวเตอร์ควรเริ่มทำความเข้าใจ

(IEEE ComSoc TH & ECTI - Telecom/ QuantumIT)

ขอขอบคุณผู้อุปถัมภ์การจัดทำและจัดพิมพ์ผลงานแรกด้าน "คอมพิวเตอร์ควอนตัม" (รอบที่ ๑)

เพื่อเป็นวิทยาทาน สาธารณะประโยชน์ และเพื่อสู่การเตรียมพร้อมของสังคมฐานความรู้ไทย 

(เส้นทางอดีต)
bottom of page