ไอทีควอนตัม เมืองไทย
泰国量子信息论坛
(since 2014 - best view on desktop)
Hologram
2024 by OQC academy &
IEEE Thailand section Quantum IT
coming soon ทยอยพบทีละรูปแบบ ... เร็ว ๆ นี้
สิทธิบัตรมหัศจรรย์...โทรคมนาคมโลก
(Golden/ Wonder Patents in Telecommunications)
ทรัพย์สินทางปัญญามูลค่าสูงตัวอย่างที่ขอรับความคุ้มครอง และได้กลายเป็นต้นแบบการคิดค้นและแนวทางให้กับโลกวิทยาการ
พร้อมเล่าขานนานมาถึงความยิ่งใหญ่ของ "ปัญญา" มาจนถึงปัจจุบัน ... พบกับ เจ็ดสิทธิบัตรมหัศจรรย์ตัวอย่าง แนวทางของโลกอนาคตที่ควรเอาเยี่ยงอย่าง
Since: October 14, 2017, Updated: October 27, 2017,
(๑)
สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด เป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสินค้า จำหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง...
(อ้างอิง: กรมทรัพย์สินทางปัญญา)
a government authority or license conferring a right or title for a set period, especially the sole right to exclude others from making, using, or selling an invention (Oxford Dictionaries)
(๒)
“การสื่อสารที่ช่วยลดระยะทางระหว่างบุคคลอุปกรณ์หรือระบบอัตโนมัติที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้สำหรับการส่งแพร่กระจายหรือนำพาด้วยวิธีการทางกลไฟฟ้าแสง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ทางควอนตัมสำหรับการสื่อสัญญาณ สัญลักษณ์ ข้อความ เสียง ภาพหรือสื่อประสมให้ผู้รับ หรือระบบสามารถเข้าใจได้”
(สารานุกรมโทรคมนาคมไทย พ.ศ.๒๕๕๒)
“communication that eliminates distance between persons, equipments, or any automatic system. It is used with any kind of electro-mechanic, light, electromagnetic wave, or the specific quantum properties, in order to deliver understanding signs, signal, text, sound, picture or multimedia to the receiver”
(Thai Telecommunications Encyclopedia 2009)
ขอขอบคุณสำหรับการสนับสนุน
ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ อดีตรักษาการอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
และ
ศ.ดร.เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย อดีตหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(เนื่องด้วยตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๕๕๗ โครงการได้รับงบประมาณเพียงจากสองแหล่งนี้รวมสามหมื่นบาทถ้วน และได้พยายามประสานขอรับการสนับสนุนจากแหล่งต่าง ๆ เพิ่มเติมจากทั้งภาครัฐ เอกชน หน่วยงานด้านไอซีทีและองค์กรกำกับดูแลด้านโทรคมนาคม รวมกว่าสามร้อยแห่งเป็นเวลากว่าสามปี แต่ไม่ประสบผล ดังนั้น โครงการจึงไม่สามารถจัดพิมพ์งาน (hard copy) เพื่อแจกจ่ายดังเช่นโครงการวิทยาทานอื่น ๆ ในอดีตได้เต็มรูปแบบ จึงขอนำเสนอเริ่มต้นในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ สถานที่แห่งนี้ และขออภัยผู้สนับสนุนที่โครงการล่าช้ากว่ากำหนดเป็นเวลานาน)
หากต้องการประสงค์จะช่วยสนับสนุนโครงการนี้เพิ่มเติม
กรุณาติดต่อได้ที่ admin.tte@ecti.or.th ขอขอบคุณ