top of page
QICTechFACTcheckLoGoWhite-2021.jpg

“MIGHT BE” technology ! | วิศวกรรมแสงพรางตาปีที่สิบสาม | LiFi 2024 | อินเทอร์เน็ตผ่านไฟส่องสว่าง |

ควรสร้างสรรค์อย่างไรต่อดี เมื่อ IEEE* เสนอเทคโนโลยี MIGHT BE** ?

ขอเชิญร่วมให้ความเห็นสาธารณะเพื่อช่วยกันสื่อสารวิทยาศาสตร์ (science communication) ทั้งการ;

๑) กระตุ้นให้สรรค์สร้าง (inspiration) สู่อนาคต และ
๒) วางภูมิคุ้มกันวิทย์เทียมวิศวกรรมลวง (fake tech immunity) ให้สังคมไทย

ต่อวงการแสงลวงที่กำเนิดมากว่าสิบสามปีแล้วของ #LiFi #LightFidelity โดยอ้างเลียนแบบไวไฟ (WiFi) สู่การสร้างอินเทอร์เน็ตผ่านแสงสว่างจากหลอดไฟที่ไม่มีอยู่จริง ยังคงหลงใหลไปทั่วแม้กระทั่งหน่วยงานวิชาชีพที่เกี่ยวข้องโดยตรง IEEE เอง กระทั่งล่าสุดปีใหม่ ๒๕๖๗ นี้ ปรากฏการประชาสัมพันธ์วิชาการเทคโนโลยีจินตนาการนี้ด้วยคำว่า MIGHT BE

ทั้งนี้ ...
เมื่อเทคโนโลยีแสงที่มองเห็นได้ลวงหลงสังคมทั่วไปมาได้ถึงสิบสามปี (2011 - 2024) แล้วเหตุ "เทคโนโลยีควอนตัม" ประสาทสัมผัสทั้งห้าจับต้องไม่ได้ และกำลังหลงใหลกว้างขวางมากกว่า ควรต้องช่วย กระตุ้นสร้างสรรค์และสร้างภูมิคุ้มกันให้สังคมไทยเพื่อพร้อมรับได้อย่างไร โปรดให้ความเห็นร่วมด้วยช่วยกัน ... ขอขอบคุณ

 
LiFi ***a PR of eye-catching technology hooked its name to the WiFi's benefit, not available in normal condition ! (light-NO-fidelity)- - Beware ! 
ไลไฟ (LiFi): เทคโนโลยีแสงที่ตามนุษย์มองเห็น เกิดเป็นจินตนาการจากโฆษณาพ่วงใช้ประโยชน์กับชื่อของ ไวไฟ (WiFi) ที่คุ้นเคยไม่มีอยู่ในสภาพการสื่อสารปกติและการส่องสว่างทั่วไป ! - - (แสงแอลอีดีไม่สามารถใช้แทนไวไฟได้โดยสมบูรณ์)

(ที่มา)

 

(ข้อมูลประกอบ)

Milestones - LiFi (Light Fidelity) :
(2011) LiFi (Light Fidelity)  
(2022) Light-based Wireless Communications
(2023) Light Antenna

(คำถามประกอบเพื่อการพิสูจน์ทราบ) ไลไฟ (LiFi);

๐ เป็นการใช้งาน “แอลอีดี ราคาถูกเพื่อการส่องสว่างหรือ เลเซอร์” ราคาสูง

๐ คือระบบการสื่อสารไร้สายประเภทใดระหว่าง การ“คงสถานที่ (Fixed wireless) หรือ การสื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile)

๐​ เป็นการควบรวมระบบการสื่อสารไร้สายกับ “การส่องสว่าง (illumination) หรือการเป็นเพียง อุปกรณ์เฉพาะทาง (gadget)

๐ การสื่อสารมีรูปแบบ“ทางเดียว (simplex) หรือสองทางใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ (full-Duplex)


(จดหมายข่าวกิจกรรมประกอบ) @IEEEGCN - since 2017

 

Kālāma Sutta กาลามสูตร พิสูจน์ก่อนเชื่อ !

nor upon another's seeming ability (bhabba-rūpatāya),

nor upon the consideration,

The monk is our teacher (samaṇo no garū)

มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือมา สมโณ โน ครูติ

- อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา


 

ติดตามสรุปข่าวไอทีควอนตัมและที่สุดแห่งปีย้อนหลังได้ที่นี่

Comments